วันพฤหัสบดีที่ 19 กรกฎาคม พ.ศ. 2555

การเริ่มต้นปฏิบัติสมาธิแนวมโนยิทธิ

สิ่งแรกที่เราควรจะทำ

๑. อาบน้ำชำระร่างกายให้สะอาด
๒. ชำระล้างจิตใจให้บริสุทธิ์อย่าคิดสิ่งใดที่ขุ่นข้องหมองใจ
จิตใจน้อมนำพระพุทธองค์หรือพระพุทธศาสนาด้วย
ความเคารพและศรัทธาอย่างสงสัย
๓. ถ้าเป็นได้นุ่งห่มขาว หรือไม่ก็ใส่เสื้อสีขาวก็ดี
๔. เริ่มจากการสวดมนต์บทพระคาถาต่างๆ


๔.๑ ถวายดอกไม้ธูปเทียนในวันพระ
หรือวันสำคัญต่างๆ


คำถวายดอกไม้ธูปเทียนเพื่่อบูชาพระ



อิมานิ มะยัง ภันเต ทีปะธูปปุปผะวะรานิ
ระตะนัตตะยัสเสวะ อะภิปูเชมะ
อัมหากัง ระตะนัตตะยัสสะ ปูชา ทีฆะรัตตัง
หิตสุขาวะหา โหตุ อาสะวักขะยัปปัตติยา


๔.๒ แต่ถ้าเป็นวันพระสำคัญๆจะถวายข้าวพระพุทธ
หรืออาหารผลไม้ท่านบ้างก็ได้

คำถวายข้าวพระพุทธ

อิมัง สุปะพยัญชะนะสัมปันนัง สาลีนัง โอทะนัง
อุทะกัง วะรัง พุทธัสสะ ปูเชมิ

๔.๓ เริ่มจากคาถาอัญเชิญเทพดา
เพื่อท่านมาฟังเราทำคุณงามความดี
ช่วยเสริมส่งให้เราและคุ้มครองเรา
เพื่อจะได้ปลอดภัยตลอดเวลาในช่วงของการปฏิบัติ


คาถาชุมนุมเทวดา


สะพันธุง นะรินทัง ปะริตตานุภาโว
สะทา รักขะตูติ ผะริตวานะ
เมตตัง สะเมตตา ภะทันตา อะวิกขิตตะจิตา
ประริตตัง ภะณันตุ สัคเค กาเม จะรูเป
คิริสิขะระตะเฏ จันตะลิกเข วิมาเน ทีเป รัฏเฐ จะ
คาเม ตะรุวะนะคะหะเน เคหะ วัตถุมหิ เขตเต
ภุมมา จายันตุ เทวา ชะละถะละ วิสะเม
ยักขะคันธัพพะนาคา ติฎฐันตา สันติเกยัง
มุนิวะระวะ จะนัง สาธะโว เม สุณันตุ
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา
ธัมมัสสะวะ นะกาโล อะยัมภะทันตา

๔.๔ หากท่านมีพระบรมสารีริกธาตุบูชา


คาถาอัญเชิญพระบรมสารีริกธาตุ











นะโม ธาตุยา โหนตุ สรีระธาตุ เม เคเห สุปปะติฏฐะตุ
ข้าพเจ้าขอนอบน้อมแด่องค์พระบรมสารีริกธาตุ
ประดิษฐานยังบ้านเคหสถานบ้านเรือนของข้าพเจ้า


คำบูชาพระธาตุในพรหมโลกและดาวดึงส์

พรัหมโลเก ทุสสะธาตุ
วามะอักขะธาตุโย
สัพเพ พรหมมาภิปู เชนติ
ถูปัง ทะวาทะ สะโยชะนัง
ตาวะ ติงสะ มหิเทวานะ
จุฬามะณี จะ เกสะกัง
สัพเพ เทวา ภิปูเชนติ
ถูปัญจะ จะตุโยชะนัง
ปูชิตา นะระเทเวหิ
อะระหัง วันทามิ ธาตุโย

คำบูชาพระธาตุในจักรวาลทั้งหลาย


จัตตาฬิส สะมาทันตา เกศา โลมา นะขาปิจะ
เทวา หะรันติ เอเตกัง จักกะวาฬะกัง ปะรัม
ปะรา ปูชิตา นะระเทเวหิ อะหังวันทามิ ธาตุโย

คำบูชาพระธาตุ ๘๔,๐๐๐ องค์ ในชมพูทวีป


อัฏฐาระเส ทะเววัสสะ สะเต ธัมมาโสโก ราชา
อะหุจะตุราสีติสะหัสสา เจติยา จะ การา ปิตา ปูชิตา
นะระเทเวหิ อะหังวันทามิ ธาตุโย สัตตะโทณานิ
ธาตูนิ ชัมพูทีเป ปะติฏฐิตา จะตุราสีติสะหัสสา
เจติยา ปฏิมัณฑิตา ปูชิตา นะระเทเวหิ
อะหังวันทามิ ธาตุโย

๔.๕ บูชา พระรัตนตรัย

อิมินา สักกาเรนะ พุทธัง อะภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ ธัมมัง อะภิปูชะยามิ
อิมินา สักกาเรนะ สังฆัง อะภิปูชะยามิ

คำอาราธนาศีล ๕

มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะ ณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
ทุติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะปัญจะ สีลานะ ยาจามะ
ตะติยัมปิ มะยัง ภันเต วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ
ติสะระเณนะ สะหะ ปัญจะ สีลานิ ยาจามะ
(ศีล ๘ ให้เปลี่ยน ปัญจะ เป็น อัฏฐะ และตัดคำว่า
วิสุง วิสุง รักขะณัตถายะ )


สมาศีล ๘


นะโมตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ๓ จบ )


๔.๖ ไตรสรณคมน์

พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ทุติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ทุติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

ตะติยัมปิ พุทธัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ ธัมมัง สะระณัง คัจฉามิ
ตะติยัมปิ สังฆัง สะระณัง คัจฉามิ

เริ่มสมาทานศีล ๘

ปาณาติปาตา เวระมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
อทินนาทานา เวระมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
อพรัมจริยา เวระมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
กาเมสุมิจฉาจารา เวระมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ
มุสาวาทา เวระมณี สิขาปะทังสมาธิยามิ
สุราเมรยะ มัชชะปะมาทัฏฐานา เวระมณี
สิกขาปะทังสมาธิยามิ วิกาละโภชะนา
เวระมณี สิขาปะทังสมาธิยามิ
นัจจะคีตะวาทิตะวิสูกะทัสสะนา
มาลากันธะวิเลปะนะ ธาระณะ
มัณฑะนะ วิภูสันฏฐานา เวระมณี
สิขาปะทังสมาธิยามิ
อุจจาสะยะนะ มะหาสะยะนา
เวระมณี สิกขาปะทังสมาธิยามิ


๔.๗ บทกราบพระรัตนตรัย

อะระหัง สัมมาสัมพุทโธ ภะึคะวา
พุทธัง ภะคะวันตัง อะภิวาเทมิ ( กราบ )

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม
ธัมมัง นะมัสสามิ ( กราบ )

สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สังฆัง นะมามิ ( กราบ )


๔.๘ นมัสการพระรัตนตรัย

นะโม ตัสสะ ภะคะวะโต
อะระหะโต สัมมาสัมพุทธัสสะ ( ๓ จบ )

๔.๙ ถวายพรพระ

บทพุทธคุณ

อิติปิโส ภะคะวา อะระหังสัมมาสัมพุทโธ
วิชชาจะระณะสัมปันโน สุคะโต โลกะวิทู
อะนุตตะโร ปุริสะธัมมะสาระถิ สัตถา
เทวะ มะนุสสานัง พุทโธ ภะคะวาติ


 
บทธรรมคุณ

สวากขาโต ภะคะวะตา ธัมโม สันทิฏ ฐิโก
อะกาลิโก เอหิปัสสิโก โอปะนะยิโก ปัจจัตตัง
เวทิตัพโพ วิญญหีติ

บทสังฆคุณ


สุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
อุชุปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
ญายะปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ
สามีจิปะฏิปันโน ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ

ยะทิทัง จัตตาริ ปุริสะยุคานิ อัฏฐะ ปุริสะปุคคะลา
เอสะ ภะคะวะโต สาวะกะสังโฆ อาหุเนยโย
ปาหุเนยโย ทักขิเณยโย อัญชะลีกะระณีโย
อะนุตตะรัง ปุญญักเขตตัง โลกัสสาติ


๔.๑๐ สายมโนยิทธินับถือสมเด็จองค์ปฐม
ดังนั้นควรนมัสการท่านด้วย

วันทามิ พุทธัง ภะวะปาริณณัง ติโลกะเกตุง
ติภะเวากะนาถัง โยโลกะเสฏโฐ สะกะลัง กิเลสัง
เฉตะวานะ โพเธสิ ชะนัง อนันตังฯ ตะมะหัง
องค์ปฐม พุทธัง อภิปูชะยามิ ตะมะหัง องค์ปฐม
พุทธัง เม สิระสา นะมา มิ มหากรุณิโก นาโถ
อัตถายะ หิตายะ สุขายะ สัพพะปาณินัง
ปูเรตะวา ปารมี สัพพา ปัตโต สัมโพธิมุตตะมัง

สัพพะสันตุปะสัคคา สัพพุปัททะวันตรายะ
นะวาระณะสะมัตถัสสะ สุคะตะมะมิ ตะพุทธิง
โลกะนาถัง ปูชิตะวา ปุญญัสสิทานะ กะตัสสะ
ยานัญญานิ กะตานิเม กุ สะละมุปะจิตัง
ยันเตนะ เตชุสสะเทนะ จะ ตัสสะ ปาระมิเตเชนะ
วิละยะมุปะนะยันตะ สะทา มหาลาโภ ภะวันตุเม
เตสัง สัจเจนะ สีเลนะ ขันติเมตตาพเลนะ
จะ เต ปิ อัมเห อนุรักขันตุ อะโรคะเยนะ
สุเขนะ จะสะทา อัมเห รักขันตุ นิรุปัททะวา
สันตุปะสัคคา วูปะสะเมตุโน

คาถาบูชาสมเด็จองค์ปฐม








นะโม กาเยนะ วาจายะ เจตะสา วา
วะชิรัง นามะ ปะฏิมัง อิทธิธรรมะ
ปาฏิหา ริยะกะรัง สมเด็จพ่องค์ปฐมต้น
พุทธะรูปัง สัมมาสัมพุทโธ ภะคะวา
อะหัง วันทามิ สัพพะโส สะทา
โสตถี ภะวันตุเม

( หลังจากนั้น แล้วแต่ผู้ปฏิบัติว่า จะสวดมนต์
พระคาถาใดตามความเหมาะสมของแต่ละท่าน
เช่น คาถาชินบัญชร ยอดพระกัณฑ์ไตรปิฎก
พระปริตร ฯลฯ เป็นต้น )







2 ความคิดเห็น:

Unknown กล่าวว่า...

วิธีการฝึกปฏิบัติมโนยิทธิ

Unknown กล่าวว่า...

ขอบคุณที่มาเยี่ยมชมค่ะ